Our Services

We Provide Services

Image

ให้บริการ ตรวจเช็ค-บำรุงรักษา แบบรายปี ลิฟต์ทุกประเภท โดยทีมงานคุณภาพ มีบริการแยกเป็น
- 1 เดือนต่อครั้ง
- 2 เดือนต่อครั้ง
- 3 เดือนต่อครั้ง
หรือตามที่ได้ตกลงกับลูกค้า

บำรุงรักษาประจำปี

+
Image

ให้บริการ ปรับปรุง - ซ่อมแซม - เปลี่ยนอะไหล่ ลิฟต์ทุกชนิด โดยทีมช่างผู้มีประสบการณ์ และคุณภาพของงานที่ดีเยี่ยม พร้อมให้บริการด้วยอะไหล่ที่ได้มาตรฐาน

ซ่อมแซม-เปลี่ยนอะไหล่

+
Image

ให้บริการ ตรวจสอบความปลอดภัย โดยวิศวกรระดับสามัญ สำหรับลิฟต์ขนส่ง , ลิฟต์โดยสาร , รอก , เครน ด้วยมาตรฐานการตรวจสอบที่ละเอียดและรอบคอบ เพื่อแจ้งให้ลูกค้าทราบถึงข้อบกพร่องต่างๆ นำไปสู่ข้อแนะนำในการแก้ไข ปรับปรุงให้สินค้ามีความปลอดภัยในการใช้งานมากยิ่งขึ้น

ตรวจสอบความปลอดภัย

+
Image

ให้บริการทดสอบน้ำหนักบรรทุก (เทสโหลด) ประจำปี

ทดสอบน้ำหนัก (Test Load)

+
Image

...............

ซ่อมแซม & ปรับปรุง

+
Image

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non vulputate. Aliquam metus tortor, auctor id gravida condimentum, viverra quis sem.

ให้คำปรึกษา

+

Frequently Asked Question

You May Ask

การให้บริการบำรุงรักษาประจำปี แบ่งออกเป็น

ประเภท (1) ให้บริการบำรุงรักษาทุกๆ 1 เดือน / หรือ 12 ครั้งต่อปี
ประเภท (2) ให้บริการบำรุงรักษาทุกๆ 2 เดือน / หรือ 6 ครั้งต่อปี
ประเภท (3) ให้บริการบำรุงรักษาทุกๆ 3 เดือน / หรือ 4 ครั้งต่อปี

ตรวจสอบจุดต่อสายไฟว่าสมบูรณ์หรือไม่

ตรวจสอบสภาพโดยทั่วไปของลวดสลิง/โซ่ยก

ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับตัวรอก

ตรวจสอบเสียงที่ผิดปกติ ขณะที่ลิฟต์ทำงาน

ตรวจสอบสภาพและการทำงานของชุดลิมิตสวิทช์

ตรวจสอบระบบเบรคว่าทำงานปกติหรือไม่ ขณะที่ลิฟท์ทำงาน

ตรวจสอบประตูทุกจุดว่าปิดสนิท และชุดล็อคประตูทำงานหรือไม่

ตรวจสอบความสะอาดของร่องประตู และลูกล้อว่าสมบูรณ์หรือไม่ (ในกรณีที่เป็นประตูเหล็กยืด)

ตรวจสอบจุดยึดต่างๆ เช่น น๊อต สกรู ว่าหลวมหรือคลายหรือไม่

ตรวจสอบสภาพของลวดสลิง/โซ่ยก ว่ามีความเสียหายมากกว่า 10 เปอร์เซ็น หรือโซ่ยกมีการผุกร่อนหรือไม่

ตรวจสอบเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดสลิง/โซ่ยก ถ้าขนาดลดลงกว่า 7 เปอร์เซ็น ของขนาดปกติ ควรเปลี่ยนใหม่ทันที

ตรวจสอบสภาพของลวดสลิง/โซ่ยก ถ้ามีการบิด งอ หรือแตกหักควรเปลี่ยนทันที

ตรวจสอบสภาพของรางลิฟต์ตามจุดยืดต่างๆ ว่าอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานหรือไม่ (ไม่มีน๊อตหลุดหรือหลวม)

ตรวจสอบสภาพของลูกล้อประตู (ในกรณีประตูเหล็กยืด) และรางว่าอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานหรือไม่ (ไม่มีน็อตหลุดหรือหลวม และไม่มีชุดลูกล้อตกราง และถ้ามีควรเปลี่ยนใหม่ทันที)

ตรวจสอบสภาพชุดประตูเหล็กยืดว่าบิดงอหรือไม่ (สาเหตุมาจากการชนของชิ้นงานหรือการใช้รถโฟคลิฟต์) และตรวจสอบสภาพน๊อตยึดและหมุดย้ำต่างๆ และถ้ามีควรรีบดำเนินการแก้ไข หรือปรับปรุงทันที)

ตรวจสอบสภาพชุดอุปกรณ์ลิมิตสวิทช์ ประตูเหล็กยืดทุกชั้นว่าอยู่ในสภาพดีหรือไม่ อาทิเช่น ก้านแตะชุดลิมิตสวิทช์หักงอหรือมีการนำเชือก/เส้นด้าย มาผูกดึงก้านลิมิตสวิทช์ไว้ ถ้ามีควรรีบดำเนินการแก้ไขทันที เพื่อความปลอดภัย

เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องใหม่ หรืออัดจาระบีใหม่

ตรวจสอบสภาพของเฟือง และทาจาระบีที่หน้าสัมผัสเฟือง

ตรวจสอบสภาพของผ้าเบรค ทำความสะอาดและปรับระยะเบรคใหม่

ตรวจสอบสภาพของแมกเนติก และทำความสะอาดหน้าคอนแทค

ตรวจขันน๊อต สกรูทุกตัวใหม่ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ จุดไหนเสื่อม ชำรุด ควรเปลี่ยนใหม่ทันที

ตรวจสอบจุดต่อสายไฟฟ้า

ตรวจสอบสวิทช์ปุ่มกดว่าอยู่ในสภาพปกติหรือไม่

ตรวจสอบชุดประตูทุกบาน ว่าอยู่ในสภาพปลอดภัยพร้อมใช้งานหรือไม่

ตรวจสอบโดยวิศวกรสามัญทุกปีๆละ 1 ครั้ง (ตามกฎหมายกำหนด)

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non.
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น เครื่องจักร หม้อน้ำ พ.ศ.๒๕๕๒

     ข้อ ๔๓ นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสอบและการทดสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของลิฟต์โดยวิศวกรอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ การทดสอบการรับน้ำหนักของลิฟต์ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละร้อยของน้ำหนักการใช้งานสูงสุด

     ตัวอย่างเช่น ในอดีตที่ผ่านมา ลิฟต์ 2 ตัน เคยบรรทุกน้ำหนัก หนักสุดกี่ตัน เช่น ถ้าในอดีตเคยบรรทุกน้ำหนัก หนักสุด 1.5 ตัน ฉนั้นถ้าดูจากกฏหมาย วิศวกรอาจจะคิดที่ 1 เท่า หรือ 100% ของน้ำหนัก 1.5 ตัน ก็ได้ไม่ผิดอะไร (ทดสอบน้ำหนักที่ 1.5x1 = 1.5 ตัน)
     หรือ อาจจะคิดที่ 1.25 เท่า ของน้ำหนักใช้งานจริงสูงสุด ก็ได้ (ทดสอบน้ำหนักที่ 1.5x1.25 = 1.87 ตัน ก็ได้ )
     หรือ อาจจะทดสอบน้ำหนักเท่ากับค่าพิกัดที่ยกได้อย่างปลอดภัย ก็ได้ (ทดสอบน้ำหนักที่ 2 ตัน)  
     แต่ทั้งนี้ น้ำหนักในการทดสอบ ห้ามเกินค่าพิกัดน้ำหนักที่ยกได้อย่างปลอดภัย

     ฉนั้น ค่าน้ำหนักในการทดสอบทางวิศวกรจะเป็นคนประเมินค่าเอง โดยดูจากอายุของลิฟต์ สภาพของลิฟต์ ประสิทธิภาพของลิฟต์ โดยยึดหลักตามที่กฎหมายกำหนด (จึงทำให้วิศวกรแต่ละท่าน ประเมินน้ำหนักที่ใช้ในการทดสอบที่อาจจะเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ได้)
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non.
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non.
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non.
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Phasellus nec pretium mi. Curabitur facilisis ornare velit non.